ประวัติพระเกจิอาจารย์ - kachon.com

ประวัติพระเกจิอาจารย์

พระธรรมสิริชัย นามเดิมว่า บุญเลิศ นามฉายา โฆสโก นามสกุล ไม้อ่อน ต่อมาเปลี่ยนเป็น ปรักกมสิทธิ์ เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๖๒ ณ ตำบลบ้านกระแซง อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี เป็นบุตรของ นายบุญเรือน(เชื้อสายไทย) และนางเขียน(เชื้อสายมอญ) ปะรักมะสิทธิ์ สำเร็จการศึกษาประถมศึกษาปีที่ ๔  ณ โรงเรียนประชาบาลวัดไก่เตี้ย อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี

Read more

ประวัติพระเกจิอาจารย์

พระธรรมคุณาภรณ์ อดีตเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม รูปที่ 12 นามเดิมว่า เจียร นามฉายา ปภสฺสโร นามสกุล จำปาศรี เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๖ ณ ตำบลลาดหลุมแก้ว อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี เป็นบุตรของนายอิน และนางทิพย์ จำปาศรี  มีพี่น้องร่วมบิดามารดา รวม ๙ คน 

Read more

ประวัติพระเกจิอาจารย์

สมเด็จพระพุฒาจารย์ อดีตเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม รูปที่ 11 นามเดิมว่า วน นามฉายาว่า ฐิติญาโณ นามสกุล วิชิตะกุล เป็นบุตรของพระวิชิตชาญณรงค์(เทศ วิชิตะกุล) เจ้าเมืองปราณบุรี และนางวิชิตชาญณรงค์(ทองอยู่ วิชิตะกุล) เกิดเมื่อวันที่  ๒๕  เมษายน  พ.ศ. ๒๔๓๗ ตรงกับวันพุธ แรม ๕ ค่ำ เดือน ๕ ปีมะเมีย เวลาประมาณ ๘.๐๐ น. ที่บ้าน ต.นารายณ์ อ.เมือง จ.เพชรบุรี

Read more

ประวัติพระเกจิอาจารย์

พระพิมลธรรม อดีตเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม รูปที่ 10 นามเดิมว่า นาค นามฉายา สุมนนาโค เป็นชาวบ้านบางพูน จังหวัดปทุมธานี เกิดในรัชกาลที่ ๕ เมื่อวันศุกร์ เดือนยี่ ขึ้น ๕ ค่ำ ปีวอก จ.ศ.๑๒๓๔ ตรงกับวันที่ ๓ มกราคม พ.ศ.๒๔๑๕ เมื่ออายุ ๑๒ ปี บรรพชาเป็นสามเณรอยู่กับพระครูธรรมานุสารี(สว่าง) วัดเทียนถวาย แต่ยังเป็นเจ้าอธิการอยู่วัดสารพัดช่าง ที่กรุงเทพฯ จนเมื่ออายุครบอุปสมบท อาจารย์จึงได้พามาถวายสมเด็จพระวันรั

Read more

ประวัติพระเกจิอาจารย์

พระธรรมเจดีย์ อดีตเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม รูปที่ 9 นามเดิม อุ่ม นามฉายา ธมฺมธโร เป็นชาวพระนครศรีอยุธยา เกิดเมื่อวันเสาร์ เดือน ๑๑ แรม ๖ ค่ำ ปีวอก จ.ศ.๑๒๒๒ พ.ศ.๒๔๐๓ ในรัชกาลที่ ๔ เมื่อมีอายุ ๘ ปี ได้ศึกษาอักขรสมัยอยู่ในสำนักพระอาจารย์เกิด เจ้าอธิการวัดกลาง อำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อปีชวด พ.ศ.๒๔๑๙ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ย้ายมาศึกษาพระปริยัติธรรมในสำนักพระอาจารย์กัน เจ้าอาวาสวัดราษฎร์บำเพ

Read more

ประวัติพระเกจิอาจารย์

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์  นามเดิมว่า ฤทธิ นามฉายา ธมฺมสิริ ตระกูลเป็นมหาดเล็ก เกิดในรัชกาลที่ ๓ เมื่อปีระกา วันเสาร์ พ.ศ.๒๓๘๐ เมื่ออายุ ๑๐ ปี โยมพาไปฝากไว้ในสำนักพระมหาพลาย เปรียญ ๔ ประโยค วัดนาคกลาง ผู้เป็นญาตินับชั้นเป็นลูกผู้พี่ เพื่อศึกษาพระปริยัติธรรม ครั้นบรรพชาเป็นสามเณรแล้ว ได้ไปเล่าเรียนอยู่ที่วัดราชบูรณะ พออายุได้ ๑๔ ปี เข้าแปลพระปริยัติธรรม ที่วัดพระเชตุพน

Read more

ประวัติพระเกจิอาจารย์

สมเด็จพระวันรัต(ฑิต) นามเดิมว่า ก๋ง เมื่ออุปสมบทแล้ว พระโหราธิบดี(ชุม) ผู้เป็นอาจารย์ ได้เปลี่ยนนามให้ใหม่ว่า ฑิต นามฉายาว่า อุทโย  เกิดเมื่อวันอาทิตย์  เดือน ๙ ขึ้น ๕ ค่ำ ปีระกา จุลศักราช ๑๑๙๙ พ.ศ.๒๓๘๐ ในรัชกาลที่ ๓ บิดาชื่อสิงห์ มารดาชื่ออิ่ม ชาติภูมิเดิมอยู่บ้านรั้วใหญ่ อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อท่านอายุได้ ๑๓ ปี  ย่างเข้าปีที่ ๑๔ ได้บรรพชาเป็นสามเณรที่วัดกำแพง อำ

Read more

ประวัติพระเกจิอาจารย์

สมเด็จพระวันรัต(เซ่ง) อดีตเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม รูปที่ 4 นามเดิมว่า เซ่ง เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ ๘ เมษายน พ.ศ.๒๓๒๓ ขึ้น ๔ ค่ำ เดือน ๕ ปีชวด ปลายรัชสมัยธนบุรี ท่านจะบวชเรียนมาอย่างไรก่อน หาทราบไม่ ปรากฏแต่ว่า เดิมท่านเล่าเรียนคันถธุระอยู่วัดมหาธาตุ เมื่อรัชกาลที่ ๒ ครั้งยังเป็นพระอันดับ ท่านได้รับเลือกเข้าร่วมเป็นสมณทูตองค์ ๑ ในคณะสงฆ์ซึ่งโปรดให้ออกไปสืบข่าวพระพุทธศาสนาในลังกาทวีป เมื่อปีจอ พ.ศ.๒๓

Read more

ประวัติพระเกจิอาจารย์

ตั้งใจที่แน่วแน่ที่จะเดินทางลงไปเพื่อกราบสรีระสังขารของ หลวงปู่เขียว อินฺทมุนี วัดหรงบน เทพเจ้าแห่งปากพนัง ด้วยความเคารพและศรัทธาเพราะท่านทั้งสองได้อธิฐานกับองค์หลวงพ่อไว้ว่า หากมีโอกาสได้ครอบครองบูชาเหรียญรุ่นแรกปี 13 ของท่านแล้ว จะเดินทางลงใต้ไปเพื่อกราบไหว้ขอพรเพื่อความเป็นศิริมงคลแก่ชีวิต ซึ่งองค์หลวงพ่อเขียวท่านก็ได้เมตตาช่วยดลบันดาลให้บิ๊กบอสของเราทั้งสองท่าน ได้มีโอกาสครอบครองบูชาเหรียญรุ่น

Read more

ประวัติพระเกจิอาจารย์

นับเป็นความภาคภูมิใจของพวกเราลูกหลานชาววัดอรุณ ที่สามารถนำภาพประวัติศาสตร์ที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งกับทางวัดอรุณราชวราราม และพวกเราลูกหลานชาววัดอรุณ เป็นภาพถ่ายประวัติศาสตร์ของอดีตเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวรารามผู้โด่งดัง ท่านเป็นหนึ่งในพระเกจิอาจารย์ผู้เรืองวิทยาคมในยุคอดีตของวัดอรุณ เป็นผู้สร้างตำนานตะกรุดหนังหน้าผากเสือวัดอรุณที่โด่งดังไปทั่วโลก ที่ผู้คนในยุคอดีตจนถึงปัจจุบันนี้ต้องการเสะหามาไว้บูช

Read more